มดเป็นสิ่งมีชีวิตบนโลกที่อาศัยอยู่บนพื้นดินมากที่สุดในระบบนิเวศ มดเป็นนักล่า ผู้ย่อยสลาย กลุ่มสัตว์ที่กินเมล็ด และในโลกยุคใหม่คือสัตว์ที่กินพืชเป็นอาหารที่สำคัญ มดยังเป็นสัตว์ที่มีส่วนสำคัญในการจัดระเบียบของความสัมพันธ์กับพืชและแมลงชนิดอื่นๆ อย่างน่าประหลาดใจ และยังทำหน้าที่เป็นวิศวกรในระบบนิเวศโดยทำหน้าที่เป็นผู้พลิกฟื้นดิน จัดสรรแร่ธาตุในดิน และเป็นการรบกวนขนาดจิ๋ว - ดูเพิ่มเติมที่:
มีการจำแนกมดไว้มากกว่า 15,000 สปีชีส์ และกว่า 200 ชนิด ได้สร้างกลุ่มประชากรนอกเหนือจากกลุ่มสายพันธ์กำเนิดของตน กลุ่มย่อยขนาดเล็กของสิ่งมีชีวิตเหล่านี้กลายเป็นผู้บุกรุกแพร่กระจายที่มีการทำลายล้างสูง โดยประกอบด้วย Argentine ant (Linepithema humile), the big-headed ant (Pheidole megacephala), the crazy ant (Anoplolepis gracilipes), the little fire ant (Wasmannia auropunctata), และ the red imported fire ant (Solenopsis invicta) ซึ่งในปัจจุบันจัดเป็นหนึ่งในกลุ่มของกลุ่มสปีชีส์ที่มีการบุกรุกแพร่กระจายสูงที่สุดในโลก 100 ชนิด (Lowe 2000). นอกจากนี้ ในกลุ่มสปีชีส์เหล่านี้สองชนิด (Linepithema humile และ Solenopsis invicta) เป็นหนึ่งในสี่ของกลุ่มสปีชีส์ที่มีการบุกรุกแพร่กระจายโดยทั่วไป (Pyšek et al. 2008) แม้ว่าการแพร่กระจายอย่างรวดเร็วของมดจะมีค่าใช้จ่ายในเชิงเศรษฐกิจทั้งในชุมชนเมืองและในพื้นที่การเกษตร แต่ผลกระทบที่มีความรุนแรงมากที่สุดของการแพร่พันธุ์เข้ามาของมดเหล่านี้ อาจจะเกี่ยวกับระบบนิเวศ พันธุ์มดรุกราน (Invasive ants) สามารถเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศได้อย่างรุนแรง โดยการลดจำนวนความหลากหลายทางสายพันธ์ของมอในพื้นถิ่น จำกัดสัตว์พวกอาร์โทรพอด (arthropods) ส่งผลในทางลบต่อประชากรสัตว์ที่มีกระดูกสัตว์หลัง และทำลายระบบการย่อยสลายของ ant-plant mutualisms.
มดสายพันธุ์รุกราน (Invasive ants) สร้างกลุ่มขนาดเล็กและสร้างกลุ่มย่อยขนาดเล็กที่มีความแตกต่างชัดเจนของกลุ่มมดที่มนุษย์เป็นผู้นำเข้ามายังสภาพแวดล้อมใหม่ กลุ่มมดที่นำเข้ามาโดยส่วนใหญ่ยังคงจำกัดขอบเขตอยู่กับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เข้ากับถิ่นที่อยู่ของมนุษย์ ( human-modified habitats) และบางกลุ่มของสปีชีส์เหล่านี้บ่อยครั้งที่มีการอ้างอิงถึงมดจำพวก tramp ants เนื่องจากความไว้วางใจต่อ human-mediated dispersal ของมันและโดยทั่วไปเกี่ยวข้องกับมนุษย์อย่างใกล้ชิด แม้ว่าสปีชีส์มดจำนวนหลายร้อยจะสร้างขอบเขตสายพันธ์นอกเหนือจากสายพันธ์พื้นถิ่น แต่การศึกษาวิจัยส่วนใหญ่ได้ให้ความสนใจทางด้านชีววิทยาของกลุ่มสปีชีส์ไม่กี่กลุ่มเท่านั้น
นี่เป็นเอกสารอ้างอิงที่มีประโยชน์ในการศึกษาบางส่วนสำหรับอ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับหมดสายพันธุ์รุกรานและนำเข้า (introduced and invasive ants)
Deyrup, M. Davis, L. and Cover, S. 2000. Exotic ants in Florida. Transactions of the American Entomological Society 126:293-326. | อ้างอิงฉบับเต็ม
Economo, E.P. and Sarnat, E.M. 2012. Revisiting the ants of Melanesia and the taxon cycle: historical and human-mediated invasions of a tropical archipelago. American Naturalist 180:E1-E16. | อ้างอิงฉบับเต็ม
Holldobler, B. and Wilson E.O. 1990 The Ants. Belknap, Cambridge, MA. | อ้างอิงฉบับเต็ม
Holway D.A., Lach L., Suarez A.V., Tsutsui N.D., Case T.J. 2002. The causes and consequences of ant invasions. Annual Review of Ecology and Systematics 33:181–233. | อ้างอิงฉบับเต็ม
Krushelnycky, P.D., Loope, L.L., and Reimer, N.J. 2005. The ecology, policy, and management of ants in Hawaii. Proceedings of the Hawaiian Entomological Society. 37:1-25. | อ้างอิงฉบับเต็ม
Lach, L. 2003. Invasive ants: unwanted partners in ant-plant interactions? Annals of the Missouri Botanical Garden 90:91-108.| อ้างอิงฉบับเต็ม
Lach, L. and Thomas, M.L. 2008. Invasive ants in Australia: documented and potential ecological consequences. Australian Journal of Entomology. 47:275-288. | อ้างอิงฉบับเต็ม
Lester, P.J. 2005. Determinants for the successful establishment of exotic ants in New Zealand. Diversity and Distributions 11:279-288. | อ้างอิงฉบับเต็ม
Lessard, J.P., Fordyce, J.A., Gotelli, N.J., and Sanders, N.J. 2009. Invasive ants alter the phylogenetic structure of ant communities. Ecology 90:2664-2669. | อ้างอิงฉบับเต็ม
Lowe, S., Browne, M. & Boudjelas, S. 2000. 100 of the world’s worst invasive alien species - a selection from the Global Invasive Species database). The Invasive Species Specialist Group (ISSG) of the Species Survival Commission (SSC) of the World Conservation Union (IUCN), Switzerland. | อ้างอิงฉบับเต็ม
McGlynn T.P. 1999. The worldwide transfer of ants: geographical distribution and ecological invasions. Journal of Biogeography 26:535–548. | อ้างอิงฉบับเต็ม
Moller H. 1996. Lessons for invasion theory from social insects. Biological Conservation 78:125–142. | อ้างอิงฉบับเต็ม
Ness, J.H. and Brunstein, J.L. 2004. The effects of invasive ants on prospective mutualists. Biological Invasions 6:445-461. | อ้างอิงฉบับเต็ม
Pyšek, P., Richardson, D.M., Pergl, J., Jaroaík, V.c., Sixtová, Z. & Weber, E. 2008. Geographical and taxonomic biases in invasion ecology. Trends in ecology & evolution 23: 237-244. | อ้างอิงฉบับเต็ม
Rabitsch, W. 2011. The hitchhiker’s guide to alien ant invasions. BioControl 56:551-572. | อ้างอิงฉบับเต็ม
Rizali, A., Lohman, D.J., Buchori, D., Prasetyo, L.B., Triwidodo, H., Bos, M.M., Yamane, S. and Schulze, C.H. 2010. Ant communities on small tropical islands: effects of island size and isolation are obscured by habitat disturbance and ‘tramp’ ant species. Journal Of Biogeography 37:229-236. | อ้างอิงฉบับเต็ม
Suarez A.V., Holway D.A., Ward P.S. 2005. The role of opportunity in the unintentional introduction of nonnative ants. Proceedings of the National Academy of Sciences USA 102:17032–17035. | อ้างอิงฉบับเต็ม
Tsutsui, N.D., and Suarez, A.V. 2003. The colony structure and population biology of invasive ants. Conservation Biology 17:48-58. | อ้างอิงฉบับเต็ม
Ward, D.F., Beggs, J.R., Clout, M.N., Harris, R.J., and O’Connor, S. 2006. The diversity and origin of exotic ants arriving in New Zealand via human-mediated dispersal. Diversity and Distributions. 12:601-609. | อ้างอิงฉบับเต็ม